วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2562)
วัชรยานในธรรมศาลา (Vajrayana in Dharamshala)
1. การเมืองเรื่องสัญชาติของผู้ลี้ภัยทิเบตในประเทศอินเดีย
สัญญา ศัลศาลา: 10-29
2. จาริกแสวงบุญในธรรมศาลา: เดินทางเพื่อศาสนาหรือการเมือง ?
สุธี ชล : 30-60
3. จริงหรือที่พระโพธิสัตว์ต้องบําเพ็ญบารมี? จริงหรือที่อวตารของพระโพธิสัตว์ต้องเพียบพร้อม ?
ณรงค์ สังขวิจิตร : 62-76
4. วิธีวิจัยด้านศาสนา: กรณีศึกษาของพุทธในไทย อินโดนีเซียและญี่ปุุน
เจษฎา บัวบาล : 77-104
5. พระพุทธเจ้าเป็น aromantic asexual หรือไม่
ธีร์วงศ์นที: 105-116
6. วิจารณ์บทความเรื่อง “พระพุทธเจ้าเป็น aromantic asexual หรือไม่”
ฉัตร ศิริพัฒนโชติกุล : 117-131
7. อะไรคือสังฆะ: ธรรมชาติของชุมชนที่เน้นทางด้านการภาวนา
ณรงค์ สังขวิจิตร : 133-140
Download PDF https://bit.ly/3rdO41c
.....................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2562)
ความหลากหลายทางศาสนา (Religious Diversity)
1. ประมวล เพ็งจันทร์: นักปฏิบัติธรรมในโลกทุนนิยม
สุธี ชล : 9-26
2. พระพุทธเจ้าไม่ใช่หมอ: ว่าด้วยมุมมองทางสังคมวิทยาต่อการอนุญาตให้ภิกษุดื่มฉี่และกินขี้
สมคิด แสงจันทร์: 28-38
3. พระปุาในชวา: การหลุดพ้นจากองค์กรศาสนาคือก้าวแรกของอิสรภาพ
เจษฎา บัวบาล : 40-57
4. คุณค่าและความหมายใหม่ทางพุทธศาสนาที่ต่างไปจากเดิม
ณรงค์ สังขวิจิตร : 59-67
5. บทบาทของนายกรัฐมนตรี นเรนทระ โมที ศึกษากรณี“จัมมูแคชเมียร์” และลาดักห์ กับความย้อนแย้งเรื่องรัฐฆราวาสในประเทศอินเดีย
ณรงค์ สังขวิจิตร : 69-82
6. ทิเบตที่เป็นจริง: ศาสนาและการเมือง
พระครูสิริทีปคุณากร : 84-100
7. ปริทัศน์หนังสือ ด็อบ-ด็อบ วิถีพระนักรบแห่งทิเบต
สัญญา ศัลศาลา : 102-124
Download PDF https://bit.ly/3rbjPrL
.........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2562)
รัฐ (กับ) ศาสนา : State (and) Religion
1. ภิกษุณีเถรวาทในประเทศกัมพูชา
สุธี ชล : 11-37
2. วาทกรรมแห่ง “นาลันทา” กับการส่งผ่านอคติความขัดแย้ง
วีระพจน์ (ชาครธมฺโม) ผลจันทร์: 39-42.
3. ชัยน้อย VS พาหุง: การปะทะกันของพุทธท้องถิ่นและพุทธแบบรัฐชาติ
เจษฎา บัวบาล : 44-65
4. สติในกระบวนการสานเสวนานำพาสันติสุขสู่ชายแดนภาคใต้
วีระพจน์ (ชาครธมฺโม) ผลจันทร์: 67-81
5. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับพระพิฆเนศ
สุริยบุตรเล่าเรื่อง : 83-94
6. สิทธิทางพลเมืองของพระภิกษุไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
เพ็ญนภา จันทร์แดง : 96-105
Download PDF https://bit.ly/3jiXCU5
.........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2563)
1. การสร้างมัสยิดด้วยเงินของรัฐบาล
มูซอนนิฟ ฆอรีบ : 10-16
2. พระพุทธเจ้า VS พระศิวะ
สุริยบุตร : 17-28
3. ใครลอกใคร: พินิจธรรมเนียมทําวัตรของพุทธ-คริสต์
สุรัตน์ สกุลคู: 29-57
4. หน้าที่พลเมือง: วิชาที่สอนให้เด็กรู้จักการเมือง
พระชาย วรธัมโม : 58-82
5. Hybridity of Indonesian Buddhism
Jesada Buaban : 83-113
Download PDF https://bit.ly/3ulBjn1
.........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ภายใต้ธีม กษัตริย์ พระ และอำนาจความชอบธรรม ประกอบด้วย 6 บทความดังนี้
1.
พระราชอำนาจของสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 :
การสร้างพระเครื่องสมเด็จจิตรลดากับการสร้างพระราชอำนาจนำทางศีลธรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
อนล จกฺรปาณิ
2.
แนวคิดทางศาสนากับการสร้างความชอบธรรมทางการปกครองของชนชั้นปกครอง :
การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์และการประดิษฐานพระราชวงศ์จักรีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
จักรกฤษณ์ วิทย์สุภาเลิศ
3. ปริทัศน์หนัง The Tale of The Princess Kaguya
เจษฎา บัวบาล
4. ดอกบัว: สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์และการหลุดพ้นทางพุทธคติ พระครูวรวิริยคุณ
5. จากลังกาสู่ล้านนา: อำนาจ คณะสงฆ์ และการณ์พระราชอาณาจักร
จักรกฤษณ์ วิทย์สุภาเลิศ
6. พระโพธิสัตว์มนุษยนิยมในมูลนิธิฉือจี้ ก้าวใหม่ที่ก้าวไปเพื่อรับใช้สรรพสัตว์
ณรงค์ สังขวิจิตร
ดาวโหลดวารสารฉบับเต็มได้ที่ https://bit.ly/2FQg5XL
..........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2563)
ธีม: ศาสนากับการประท้วงทางการเมือง
1. พุทธที่แท้จริง? : ความขัดแย้งทางความเชื่อในศาสนาพุทธของไทยบริบทร่วมสมัย
สุธาภัทร สังข์เอี่ยม : 6 - 21
2. Freedom of Thought Beyond Religion of the Millennial Generation
Netchanok Thanomwong : 22 - 39
3. พุทธศาสนานอกวัด: ทำความรู้จักกับ Stephen Batchelor
ณรงค์ สังขวิจิตร : 40 - 53
4. สิทธิเลือกตั้งของพระภิกษุตามกฎหมายประเทศกัมพูชา
สุธี ชล : 54 - 91
5. คุยกับเณรโฟล์ค: ศาสนา ประชาธิปไตย คนรุ่นใหม่ และข้อดีของรัฐโลกวิสัย
The Opener : 92 - 97
6. ศาสนาน ามาซึ่งความสงบสุขจริงหรือ?
รณพร จันทร์เพ็ญ & เพ็ญนภา จันทร์แดง : 98 - 106
Download PDF https://bit.ly/3NSWIMa
.........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564)
อิสลามกับเพศสภาพ : Islam and Gender
1. การปรับตัวของหญิงรักหญิงมุสลิมในปัตตานี
นารีฮัน กาซอ / นูรูฆอซีอะฮ์ เจ๊ะเฮาะ / ซัมซู สาอุ/ เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
2. การนำเสนอตัวตนของผู้มีความหลากหลายทางเพศของนักศึกษาชายชาวมุสลิม
ซูฮาดา มิหีม / ฮานีซะห์ เด็ง / ซัมซู สาอุ/ เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
3. อินซาฟ : การเริ่มต้นชีวิตใหม่ของแม่ที่ท้องก่อนแต่งงาน (ซินา) ในสังคมมุสลิม
ฮูสนา มานะ / นูรฟาซีลา มะดีเยาะ / ซัมซู สาอุ/ เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
4. ชีวิตและการปรับตัวของทอมบอยมุสลิม(มะห์)
บินยามีน เจ๊ะเซ็ง / บุครีดอเล๊าะ / ซัมซู สาอุ / เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
5. จากมุสลิมสู่ “มุรตัด” : กระบวนการสร้างตัวตนของอดีตมุสลิมไทยที่เป็นเกย์
ซัมซู สาอุ
6. "คนพลัดถิ่น”: การปรับตัวของหญิงชาวยูนานในยะลา
ตัสนีม บือแน / นุรอัยนี นีระหิง / ซัมซู สาอุ / เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
7. จากมีนบุรีสู่รูสะมิแล : การย้ายถิ่นและการปรับตัวของสตรีมุสลิมบางกอกในชุมชนมลายูชายแดนใต้
ฮุสนา มะหะหมัด / ลาตีฟะห์ มาหะมะยาเลาะ / ซัมซู สาอุ / เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
8. การมีส่วนร่วมของสตรีมุสลิมในพื้นที่ขยายทางศาสนา : กรณีการละหมาดศพ
นัสรี หล๊ะหมูด / ซัมซูสาอุ / เบญจรงค์ ถิระผลิกะ
9. ดนตรีที่ฮาลาล ท่วงทำนองและความสอดคล้องกับศาสนา : กรณีศึกษาของวงชามีล
มัรวาน มาแฮ / อิมรอน มือลี / ซัมซูสาอุ
Download PDF https://bit.ly/38Df43F
.........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
(พฤษภาคม – สิงหาคม 2564)
ธีม: ศาสนากับความเหลื่อมล้ำ มี 4 บทความ
1. ชนชั้นในมุมมองพุทธศาสนา: ภาพสะท้อนจากพุทธคัมภีร์ถึงสังคมพุทธสมัยใหม่ โดย ธีรภพ เต็งประวัติ
2. ผี: ผู้ถูกกดขี่โดยพุทธศาสนาแบบราชานิยม โดย ศักดา เฉลิมพงษ์
3. จากความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุขสู่โต๊ะบีแด หมอตำแยของชุมชนมุสลิม โดย นูรีลมุมีนีณ์ ลูแน ซัมซู สาอุ และเบญจรงค์ ถิระผลิกะ
4. ฮิญาบของสตรีมุสลิมกับหลักคำสอน: กรณีศึกษาโรงเรียนปอเนาะ
โดย ซูฮาดา มิหีม ซัมซู สาอุ และเบญจรงค์ ถิระผลิกะ
.
สามบทสัมภาษณ์โดยศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ชุด
ปฐมเทศนาบนเส้นทางประชาธิปไตย: เรื่องราวก่อนการตื่นรู้ของ ‘พระ/เณร’ แห่งราษฎร
ดาวโหลดวารสารได้จาก https://cutt.ly/CWz6e56
..........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2564)
ธีม : รัฐโลกวิสัย มีบทความทั้งหมด 6 เรื่อง คือ
1. ประวัติศาสตร์ของแนวคิดโลกวิสัยในสังคมไทย : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ธีรภพ เต็งประวัติ : 10 – 79
2. โองการแช่งน้ำ” วรรณกรรมรับใช้ศักดินา
ณัฐวุฒิ รังศรีรัมย์ : 80 – 132
3. รามายณะ: ละครโทรทัศน์กับการเมืองเรื่องศาสนา
Rahul Verma เขียน Mythologeek แปลและเรียบเรียง : 133 – 151.
4. Indian secularism
พระณรงค์ วุฑฺฒิเมธี (สังขวิจิตร) : 152 – 176
5. บทวิจารณ์ต่อ สุรพศ ทวีศักดิ์ เรื่อง อำลาพุทธราชาชาตินิยม
พระณรงค์ วุฑฺฒิเมธี (สังขวิจิตร) : 177 - 187
6. ข้อสังเกต พุทธศาสนาไทยและอาเซียนที่ยังไปไม่ถึง
พระณรงค์ วุฑฺฒิเมธี (สังขวิจิตร) : 188 – 190
ดาวโหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ https://bit.ly/3jnAeVm
............................................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
ธีม ศาสนากับภาพยนตร์
บรรณาธิการโดย ชานนท์ ลัภนะทิพากร
มีบทความ 6 ชิ้น
1. GATTACA ฝ่ากฎโลกพันธุกรรม: เมื่อมนุษย์ริอาจท้าทายพระเจ้า?
เจริญพร จุลชู และ เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์
2. The Seventh Seal (Ingmar Bergman, 1957): พระเจ้ามีหรือไม่มีสำหรับอัศวินแอนโทเนียส บล็อค (Antonius Block) ในประจักษ์นิยมแบบจัด ของวิลเลียม เจมส์
ศุภรัช พงศ์คุณาพร
3. คุณค่า ความตาย และ ชีวิต จากที่สุดของภูมิปัญญามนุษย์ย่อมถึงวันที่โรยรา เมื่อกาลเวลาล้วนพรากทุกสิ่ง และทิ้งเพียงร่องรอยที่สร้างวัฏจักรจุดเริ่มต้น
อริญชน์ ปราณพิชัยวัฒน์
4. ภูต ผีและปีศาจในภาพยนตร์เกาหลี
นายปิยชัย นาคอ่อน
5. ทำความรู้จัก “ศาสนาประดิษฐ์” (Invented Religion): หนึ่งในกรอบคิดเพื่อเข้าใจศาสนาจากภาพยนตร์
ธนพล เฮงสาโรชัย
6. ราคะ ศรัทธา อำนาจ : Benedetta
เนตรชนก ถนอมวงศ์
ดาวโหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ https://bit.ly/3dWHmcq
.............................................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (2565)
ธีม : พุทธแบบไทย (Thai Buddhism)
ประกอบด้วย 7 บทความ คือ
1. ทูนถาดค่ำศุกร์ : ทำบุญให้บรรพชนของคนแขกบ้านหนองบัว
(สามารถ สาเร็ม: 11 – 26)
2. พุทธศาสนาแบบไทยคืออะไร ทำไมจึงอ่อนไหวเปราะบาง? (มุมมองจากภาษาศาสตร์ปริชาน/จิตวิทยาภาษาศาสตร์)
(ส สิงหา: 27 – 54)
3. อำนาจ : วลีที่ทรงพลังที่สุดของโลก
(อริญชน์ ปราณพิชัยวัฒน์: 55 – 106)
4. ศาสนาเป็น Safe Zone ป้องกันการเปลี่ยนแปลงของคนที่ไม่อยากเปลี่ยนแปลง
(โอ เสาวนีย์: 107 - 112)
5. มหาทุคตะโมเดล: ต้นแบบการผลิตซ้ำเรื่องผลบุญของพุทธเถรวาทซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการมองปัญหาความยากจนเชิงโครงสร้าง
(วิวัฒน์ กรกิจ: 113 – 128)
6. เต๋าแห่งตัวตนที่ปราศจากรูป (BWO) : การกำลังจะเกิด/กำลังจะเป็นแบบเดอเลิซในหนังกังฟู (ผู้เขียน เอเมียร์ วัดคา)
(แปลโดย อมรินทร์ พิมลรัตน์ไพบูลย์ : 129 – 157)
7. ธรรมวิทยาแห่งพลเมืองที่เคลื่อนไป: บทสะท้อนและข้อวิจารณ์
(ชนะพงศ์ ลิ้มเสรี : 158 – 171)
ดาวโหลด PDF ฉบับเต็มได้จาก https://cutt.ly/A2wELQa
.......................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2566)
ธีม : เสรีภาพกับศาสนา (Freedom and Religion)
มี 6 บทความดังนี้
การบูรณาการเสรีภาพต่างความหมายเพื่อสนับสนุนภราดรภาพในสังคมพหุวัฒนธรรม
สุรพศ ทวีศักดิ์ (8-37)
ฉันเป็นมุสลิมปลอม เเต่พระเจ้าย่อมรู้ทุกสิ่ง พระองค์จึงเข้าใจฉัน
เจษฎา บัวบาล (38-63)
ที่ยืนอันจำกัดของคนไม่มีศาสนาในสังคมไทย
กันตพงศ์ งามวงสา (64-90)
โลกที่มีเสรีภาพส่งผลต่อศาสนาอย่างไร ?
กันตพงศ์ งามวงสา (91-98)
ศพไม่เงียบ: คุณงามความดีเมืองพุทธวิถีเล่ห์เงียบ
ทอฟ้า ทองทา (99-114)
Interstellar : เมื่อเราเชื่อมต่อกันในทุกๆ จักรวาล
อริญชน์ ปราณพิชัยวัฒน์ (115-145)
ดาวโหลดบทความฉบับเต็มได้ที่
https://shorturl.at/OQYZ6
..............
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (2023)
ธีม ศาสนาในวรรณกรรม มีบทความ 6 ชิ้น ดังนี้
1. พระอรหันต์รักในหลวง : การสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์ ผ่านการสอนวิปัสสนาและพุทธศาสนาแบบอิงคัมภีร์ในธรรมนิยายของ สุทัสสา อ่อนค้อม (เจษฎา บัวบาล 4-26)
2. เพศวิถี (ที่รอการ) ศึกษาในพุทธศาสนา: ประกายความคิดเรื่องเพศวิถีในพุทธศาสนากับตัวอย่างพระอรหันต์เพศวิถี (สมคิด แสงจันทร์ 27-42)
3. การปฏิบัติตามหลักการทางศาสนาในฐานะเป็นข้อยกเว้นของกฎหมายว่าด้วยความเท่าเทียมระหว่างเพศ : ศึกษากรณีพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (อารยา สุขสม 43-72)
4. มองโลกทัศน์ผู้ลี้ภัยชาวทิเบตผ่านการรีวิวตำราเรียนภาษาทิเบต (สุธี ชล 73-100)
5. พระศรีอาริย์กับบ้านริมมูล (วรันทร สิงห์งาม 101-109)
6. หลวงพี่นี้ใส่ส้นสูง : ว่าด้วยการตีความพุทธศาสนาเพื่อความหลากหลายทางเพศ (เจษฎา บัวบาล 110-115)
ดาวโหลดเล่มวารสารได้ที่
https://tinyurl.com/yc4cb9tc
.........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
ศีลธรรมกับเผด็จการ (Morality & Dictator)
มีบทความ 4 เรื่องคือ
1. แนวคิดเรื่องธัมมิกสังคมนิยมของพุทธทาสภิกขุกับการสร้างความชอบธรรมให้ความรุนแรงทางการเมือง .. สถาพร จันทร์เทศ (7 - 32)
2. การทำงาน: แรงขับเคลื่อนจากศรัทธาในโลกทุนนิยม .. ศักดา เฉลิมพงษ์ (33 - 48)
3. วัดไทยในต่างแดนท่ามกลางความหลากหลายของศาสนา : กรณีศึกษา วัดพุทธเมตตา กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย .. ณภัทร สร้อยดอกสน (49 - 71)
4. เมื่อพระเจ้าไม่ลงโทษ ฉันจะลงโทษเธอเอง : การใช้ศาสนาเพื่อการลงทัณฑ์ในหนังเรื่อง Tin & Tina .. เจษฎา บัวบาล (72 - 77)
ดาวโหลดวารสารฉบับเต็มจาก https://t.ly/z-sp8
........................
วารสารมานุษยวิทยาศาสนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2567)
ธีม ศาสนาของคนกลุ่มน้อยและการปรับตัว
ประกอบด้วย 4 บทความคือ
1. สำรวจสุสานยิวปีนัง ย้อนดูประวัติศาสตร์ของชาวยิวในมาเลเซีย
นิอดัม ขาเดร์ (3-20)
2. เมื่อภิกษุอยากขลิบต้องได้ขลิบ
พระดี ศรีสยาม (21-55)
3. คู่มืออิหม่ามจังหวัดยะลา เกี่ยวกับหลักการการแต่งงานและการหย่าร้างในสังคมมลายูมุสลิมภาคใต้ของไทย
เรืองริน ประทิพพรกุล (56-151)
4. Save the Planet - Kill Yourself: Repositioning Relations between Human and Environment of the Church of Euthanasia
Jesada Buaban (153-175)
ดาวโหลดวารสารฉบับเต็มได้จาก
https://shorturl.at/ZuUtI